เว็บตรง / บาคาร่าเว็บตรง จากสถานการณ์ไฟป่าในหลายพื้นของภาคเหนื่อที่กำลังทวีความรุนแรงอย่างต่อเนื่องและยังส่งผลกระทบต่อสภาพภูมิอากาศในพื้นที่ภาคเหนือ ที่ตอนนี้ปกคลุมไปด้วยฝุ่นควันที่เกิดจากการเผาป่า มีประชาชนหลายๆกลุ่มต่างพากันออกมาทำกิจกรรมจิตอาสา ทั้งช่วยดับไฟป่าและรณรงค์ไม่ให้จุดไปเฝาหญ้าแห้ง ล่าสุด นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ได้ออกมาโพสต์ถึงสถานการไฟป่าทางภาคเหนื่อที่กำลังประสบปัญหาต่างๆ โดยมีข้อความระบุ
“สถานการณ์ไฟป่าทางภาคเหนือในบางพื้นที่ยังมีความรุนแรงอยู่ครับ
ในพื้นที่ที่ผมไปเยี่ยมมาคือที่อำเภอเชียงดาว สถานการณ์ไฟป่าที่ดอยหลวงเชียงดาว ยังคงรุนแรง และยังมีความต้องการอุปกรณ์ อาหาร เครื่องดื่มอยู่ครับ
อย่างไรก็ตาม มีอีกหลายพื้นที่มากครับนอกจากเชียงดาวที่ประสบปัญหาไฟป่าและฝุ่นควัน เช่นแม่ฮ่องสอน เชียงราย น่าน เป็นต้น ลองหาข้อมูลศูนย์รับความช่วยเหลือของแต่ละพื้นที่และช่วยกันคนละไม้ละมือตามกำลังของพวกเราแต่ละคน หมอกควันและไฟป่า บรรเทาได้ด้วยน้ำใจของพวกเราทุกคนครับ
ภูเก็ตน้ำเน่าเสียกระทบชุมชุน ทางแก้หายาก หากไม่มีจิตสำนึก เมื่อวันที่ 1 เม.ย.62 ที่บริเวณคลองมุดง ต.ฉลอง อ.เมือง จ.ภูเก็ต เขตติดต่อเทศบาลตำบลวิชิต นายครรชิต สุนทรากร ผอ.ส่วนควบคุมสิ่งแวดล้อม สำนักงานสิ่งแวดล้อมภาค 15 พร้อมด้วย นายสำราญ จินดาพล นายกเทศมนตรีตำบลฉลอง เจ้าหน้าที่เทศบาลตำบลวิชิต และชาวบ้านชุมชนในเหมือง เข้าตรวจสอบสภาพน้ำเน่าเสีย ทำให้สัตว์น้ำลอยตายจำนวนมากและมีกลิ่นเหม็นกระทบต่อประชาชนที่อาศัยอยู่ใก้ลกับดังกล่าว จากการตรวจสอบเบื้องต้นพบว่าคลองมุดงเป็นพื้นที่รับน้ำจากหมู่บ้านหลายหมู่บ้านและตลาดในพื้นที่ของ ต.วิชิต และ ต.ฉลอง ก่อนไหลลงสู่ทะเล จากการที่รับน้ำที่ไม่ได้รับการบำบัดจากบ้านเรือนประชาชนจำนวนมากและสะสมมาเป็นเวลายาวนานทำให้สภาพน้ำในคลองเกิดการเน่าเสียผลการเก็บตัวอย่างนำ้มีค่าน้ำเสีย ที่ 1.7 มิลลิกรัม ต่อ 1 ลิตร ซึ่งถือว่าเป็นอันตรายต่อสัตว์น้ำและมีผลกระทบต่อระบบนิเวศน์หากน้ำเสียเหล่านี้ไหลลงสู่ทะเลรวมถึงผลกระทบกับกลุ่มผู้เลี้ยงปลากะชังในพื้นที่
นายสำราญ จินดาพล นายกเทศมนตรีตำบลฉลอง เปิดเผยว่าถือว่าปัญหาน้ำเน่าเสียวันนี้เป็นเรื่องน่าเป็นห่วงการแก้ปัญหาต้องมีการร่วมมือจากหลายหน่วยงานรวมถึงจังหวัดต้องลงมาจัดการปัญหาที่เกิดขึ้นเพราะพื้นที่ตำบลฉลองเป็นพื้นที่ที่มีแหลวท่องเที่ยวอละมีนักท่องเที่ยวมาเที่ยวในพื้นที่ทางทะเลในแต่ละปีเป็นจำนวนมากหากปัญหาน้ำเสียไม่ได้รับการแก้ไขอย่าจริงจังย่อมส่งผลกระทบต่อการท่องเที่ยวอย่างแน่นอน แต่ปัญหาเบื้องต้องคงจะต้องแก้ไขปัญหาไปตามสถานการณ์ตามที่ทางสิ่งแวดล้อมแนะนำก่อนคือต้องทำการบัดบัดด้วย อี เอ็มหรือ จุรินทรีย์ แต่จะได้ผลหรือไม่เพราะปริมาณน้ำเสียที่ไหลสู่คลองจากบ้านเรือนประชาชนจำนวนมากคงต้องหาทางแก้ปัญหาในระยะยาวรวมถึงการสร้างจิตสำนึกแกประชาชนและหน่วยงานภาครัฐที่เกียวข้องต้องลงมาช่วยแก้ไขปัญหาที้เกิดขึ้นเพราะสถานการณ์ค่อนข้างรุนแรงและแก้ไขได้ไม่ง่ายซึ่งหากไม่ได้รับการแก้ไขอาจส่งกระทบและความเสียหายที่ตามมาอย่างมากก่อนท่ีจะสายไป
ชาวเลราไวย์ รวมตัวหน้าสภ.ฉลอง ให้กำลังใจ 2 ชาวเลหลังถูกจับฐานบุกรุกฯ
ชาวเลราไวย์กว่า 100 คน เดินทางไปรวมตัวหน้าสภ.ฉลองเพื่อให้กำลังใจสองชาวเลที่ถูกจับกุมตามหมายจับฐาน บุกรุกฯ หลังถูกผู้อ้างกรรมสิทธิ์แจ้งความดำเนินคดีในพื้นที่พิพาทหน้าหาดราไวย์
เมื่อช่วงค่ำที่ผ่านมา (1 เม.ย.62 )ที่สถานีตำรวจภูธรฉลอง กลุ่มชาวเลราไวย์ประมาณ 100 คน เดินทางมาให้กำลังใจ นางสาว วีรวรรณ หาดทรายทอง อายุ 36 ปี และนาง บุญใจ พลรบ อายุ 56 ปี สองชาวเลราไวย์ ซึ่งถูกเจ้าหน้าที่ตำรวจชุดสืบสวน กองกำกับการสืบสวนภูธรจังหวัดภูเก็ตและชุดสืบสวนสภ.ฉลองร่วมจับกุมตามหมายจับของศาลจังหวัดภูเก็ต ที่ จ/2558 คดีอาญาที่ 234/2559 และหมายจับที่ จ320/2559 หลังตกเป็นผู้ต้องหา ในคดี “ร่วมกันบุกรุกอสังหาริมทรัพย์ของผู้อื่น เพื่อถือการครอบครองอสังหาริมทรัพย์นั้น ทั้งหมดหรือแต่บางส่วน หรือเข้าไปกระทำการใดๆอันเป็นการรบกวนการครอบครองอสังหาริมทรัพย์เข้าโดยปกติสุข โดยร่วมกันกระทำความผิดตั้งแต่สองคน” โดยเหตุเกิดเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2559 ในที่ดินโฉนดเลขที่ 12592 เล่ม 78 หน้า 13 ม.2 ต.ราไวย์ อ.เมืองภูเก็ต
ทั้งนี้การจับกุมดังกล่าวเกิดขึ้นในเวลาประมาณ 16.00 น.เมื่อเจ้าหน้าที่ชุดจับกุมพบว่าผู้ต้องหาตามหมายจับทั้งสองราย อยู่ในพื้นที่หาดราไวย์จึงได้เข้าแสดงหมายจับและชี้แจงทำความเข้าใจกับพี่น้องชาวเล ก่อนเชิญตัวทั้งสอง มายังกองกำกับการสืบสวนภูธรจังหวัด และส่งกลับไปยังสภ.ฉลองเพื่อทำบันทึกจับกุม และหลังจากที่ทำบันทึกจับกุมเสร็จ พนักงานสอบสวนได้อนุญาตให้ใช้หลักทรัพย์ยื่นขอประกันตัวชาวเลทั้งสองได้ชาวเลส่วนใหญ่ก็ได้ทยอยเดินทางกลับ
สำหรับคดีดังกล่าว เป็น 1 ในคดีพิพาทที่เกิดขึ้นระหว่างชาวเล และผู้อ้างกรรมสิทธิ์ที่ดินในพื้นที่หาดราไวย์ ซึ่งที่ดินดังกล่าว(โฉนดเลขที่ 12592 เล่ม 78 หน้า 13 ม.2 ต.ราไวย์) ปัจจุบันเป็นอาคาร 3 ชั้น มีชาวเล(ผู้ถูกดำเนินคดี 2 ราย)อาศัยอยู่โดยอ้างตามสิทธิ์ครอบครองพื้นที่มาตั้งแต่สมัยบรรพบุรุษ ขณะเดียวกันก็มีผู้ออกเอกสารสิทธิ์และขายต่อหลายทอด จนกระทั่ง เอกสารสิทธิ์ตกไปอยู่กับสถาบันการเงิน ก่อนที่จะเข้าสู่กระบวนการบังคับคดี และมีการขายทอดตลาด และต่อมาได้มีผู้ซื้อรายใหม่อ้างกรรมสิทธิ์ในที่ดิน ก่อนแจ้งความดำเนินคดีกับชาวเลดังกล่าว
อย่างไรก็ตามในส่วนของพี่น้องชาวเลซึ่งเป็นผู้นำหมู่บ้านจะมีการพูดคุยหารือกันภายใน รวมถึงพูดคุยกับทนายความ เพื่อเตรียมหลักฐานสู้คดีในชั้นศาลต่อไป เว็บตรง / บาคาร่าเว็บตรง